สมุดเมืองหม้อดิน ถิ่นศิวิไล บ่อน้ำโพธิ์ใส ศูนย์รวมใจพระดี หลวงปู่หงษ์วัดเพชรบุรี หลวงปู่คีย์วัดศรีลำยอง เลื่องลือแซ่ซ้อง สมุดทองครองธรรม ประชาสัมพันธ์ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างประจำปี 2565 แจ้งประเมิน ภายในเดือนมิถุนายน ของทุกปี ชำระภาษี ภายใน เดือนสิงหาคม ของทุกปี ภาษีป้าย ยื่นแบบแสดงรายการ ภายในเดือนมกราคม ของทุกปี ชำระภาษีภายในเดือนมีนาคม ของทุกปี ค่าธรรมเนียมและใบอนุญาตต่างๆ ยื่นคำร้อง 30 วัน นับแต่เริ่มดำเนินกิจการ ชำระค่าธรรมเนียมภายใน 15 วัน นับจากวันที่ได้รับหนังสือแจ้ง
 
 
 
 
/
 
แบบสำรวจความคิดเห็น
ท่านต้องการให้ อบต. พัฒนาในส่วนใดมากที่สุด
ด้านการคมนาคม
ด้านการประชาสัมพันธ์ข้อมูล
ด้านการส่งเสริมอาชีพในตำบล
ด้านระบบอินเตอร์เน็ตตำบล
ด้านระบบสาธารณูปโภค
 
 
 
 
 
 
แนะนำการชำระภาษี
______________________________________________________________________________________________
แนะนำการชำระภาษี
 

การแนะนำการชำระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง  และภาษีป้าย

ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง

ที่ดิน หมายความว่า พื้นดิน และให้หมายความรวมถึงพื้นที่ที่เป็นภูเขาหรือที่มีน้ำด้วย (แม่น้ำ และทะเลไม่ ถือเป็นที่ดินตามพระราชบัญญัตินี้

ที่ดินที่ต้องเสียภาษี ได้แก่

1. ที่ดินที่เป็นกรรมสิทธิ์ของบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล เช่น โฉนด ตราจอง ตราจองที่ตราว่าได้ท้า ประโยชน์ นส.3 นส.3ก นส.3

2. ที่ดินที่ไม่เป็นกรรมสิทธิ์ของบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล แต่อยู่ในความครอบครองของบุคคลธรรมดาหรือ นิติบุคคล เช่น สปก. 4, ก.ส.น., ส.ค.1 , นค.1, นค.3, ส.ท.ก.1, ส.ท.ก.2, นส.2(ใบจอง) และที่ดินอันเป็นทรัพย์สิน ของรัฐซึ่งมีการเข้าไปครอบครองหรือท้าประโยชน์ ฯลฯ เป็นต้น

สิ่งปลูกสร้าง หมายความว่า โรงเรือน อาคาร ตึก หรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นที่บุคคลอาจเข้าอยู่อาศัยหรือ ใช้สอยได้ หรือที่ใช้เป็นที่เก็บสินค้าหรือประกอบการอุตสาหกรรมหรือพาณิชยกรรม และให้หมายความรวมถึงห้องชุด ตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชุดที่ได้ออกหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ห้องชุดแล้วหรือแพที่บุคคลอาจใช้อยู่อาศัยได้หรือที่มีไว้ เพื่อหาผลประโยชน์ด้วย

ผู้มีหน้าที่เสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง

1. บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลซึ่งเป็นเจ้าของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง ทรัพย์สินของบริษัท ห้างหุ้นส่วนจ้ากัด หรือบริษัทมหาชนจ้ากัด เป็นต้น

2. ผู้ครอบครองหรือท้าประโยชน์ในทีดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐไม่ว่าจะเป็นการเข้าไปท้า ประโยชน์หรือครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ เช่น กรมธนารักษ์น้าทรัพย์สินไปใช้เช่าผู้เช่าในฐานะผู้ ครอบครองทรัพย์สินของรัฐเป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษี

3. ผู้มีหน้าที่ช้าระภาษีแทน ได้แก่ ผู้จัดการมรดกหรือทายาท , ผู้จัดการทรัพย์สิน , ผู้แทนด้วยชอบธรรม ผู้แทนนิติบุคคล ,ผู้ช้าระบัญชี , เจ้าของรวมคนใดคนหนึ่ง

การแจ้งการประเมินภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง

ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแจ้งการประเมินแก่ผู้เสียภาษี ภายในเดือนกุมภาพันธ์ ของทุกปีการรับชำระ ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง

เมื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหนังสือแจ้งการประเมินแก่ผู้เสียภาษีภายในเดือนกุมภาพันธ์แล้ว  ผู้เสียภาษี ต้องน้าเงินมาช้าระต่อพนักงานเก็บภาษี  ภายในเดือนเมษายน  ณ  องค์การบริหารส่วนตำบลสมุดโดยให้ถือวันที่ พนักงานเก็บภาษีลงลายมือชื่อในใบเสร็จรับเงินเป็นวันที่ช้าระภาษี

การผ่อนชำระ

ผู้เสียภาษีจะขอผ่อนช้าระภาษีก็ได้ โดยวงเงินที่จะขอผ่อนช้าระจะต้องมีจ้านวนตั้งแต่ 3,000 บาท ขึ้นไป และต้องท้าเป็นหนังสือยื่นต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นภายในเดือนเมษายน ซึ่งกำหนดเวลาในการผ่อนช้าระ ให้แบ่งได้ไม่เกิน 3 งวด ละเท่าๆ กัน ดังนี้

1. งวดที่ 1 ช้าระภายในเดือนเมษายน

2. งวดที่ 2 ช้าระภายในเดือนพฤษภาคม

3. งวดที่ 3 ช้าระภายในเดือนมิถุนายน

ฐานภาษี

คือ มูลค่าทั้งหมดของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง โดยการค้านวณมูลค่าของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง เป็นไป ตามหลักเกณฑ์ ดังนี้

1. ที่ดิน ให้ใช้ราคาประเมินทุนทรัพย์ที่ดินเป็นเกณฑ์ในการค้านวณ

2. สิ่งปลูกสร้าง ให้ใช้ราคาประเมินทุนทรัพย์สิ่งปลูกสร้างเป็นเกณฑ์ในการค้านวณ

3. ิ่งปลูกสร้างที่เป็นห้อชุด ให้ใช้ราคาปรเมิทุนทรห้องชุดเป็นเ์ใการำน

การคำนวณภาษี

1. การคำนวณภาษีสำหรับที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประกอบการเกษตร

1.1 ให้คำนวณมูลค่าฐานภาษีรายแปลง

1.2 นำมูลค่าทุกแปลงมารวมกันเป็นฐานภาษี

1.3 นำฐานภาษีมาหักมูลค่าฐานภาษีที่ 50 ล้านบาท โดยหักจากแปลงที่มีราคาสูงสุดตามลำดับ

1.4 หลังจากหัฐานภาษี 50 านบาทแล้ว คำนวณแยเป็นรปล ปลงใด้นทีอกห้ นำมูลค่าฐานภาษีมารวมกันเพื่อคนวณภาษี

2. การคำนวณภาษีสำหรับที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ใช้อยู่อาศัย

2.1 ให้คำนวณมูลค่าของที่ดิน

2.2 คำนวณมูลค่าของสิ่งปลูกสร้างและหักค่าเสื่อมตามตารางการหักเสื่อม

2.3 นำมูลค่าของที่ดินและมูลค่าของสิ่งปลูกสร้างมารวมกัน มูลค่าที่ได้ถือเป็นฐานภาษี

2.4 นำมูลค่าฐานภาษีที่ได้มาหักฐานภาษีที่ยกเว้นตามเกณฑ์ เพื่อคำนวณภาษี

3. การคำนวณภาษีสำหรับห้องชุด

3.1 คำนวณหามูลค่าของห้องชุด โดยนำจำนวนเนื้อที่ห้องชุดไปคูณกับราคาประเมินของห้องชุด (ไม่ต้องหักค่าเสื่อมของห้องชุด) มูลค่าที่ได้ถือเป็นฐานภาษี

3.2 นำมูลค่าฐานภาษีไปหักฐานภาษีที่ได้รับยกเว้น กรณีบ้านหลังแรก จะต้องมีเอกสารสิทธิที่ดิน ็นอง บนเอง ชืยนน ณ วที่ 1 มกาค2562 ้น่าษี 50 ล้านบาท ส่วนที่เกินคิดในอัตรา ร้อยละ 0.03

4. การคำนวณภาษีสำหรับที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประโยชน์อื่น

4.1 ให้คำนวณมูลค่าของที่ดิน

4.2 คำนวณมูลค่าของสิ่งปลูกสร้างและหักค่าเสื่อมตามตารางการหักค่าเสื่อม

4.3 นำมูลค่างที่ดินแลมูลค่างสิ่งปลูกสร้างมารวมัน มูลค่าที่ด้ถืเป็นฐานภาษี

4.4 นำมูลค่าฐานภาษีี่ด้ตาม้อ

4.5 มาคำนวณภาษีตามอัตราาษีี่กำหนด

5. การคนวณภาษีสหรับที่ดินที่ทิ้งไว้ว่างเปล่าหรือไม่ได้ท าประโยชน์ตามควรแก่สภาพ ให้คำนวณมูลค่าขงที่ดิน x ัตราาษีี่กำหนด 0.3%

การรับชำระภาษีี่ดินละสิ่ปลูกสร้าง

· เมื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหนังสือแจ้งการประเมินแก่ผู้เสียภาษีภายในเดือนกุมภาพันธ์แล้ว ผู้เสียภาษีต้องนำเงินมาชำระต่อพนักงานเก็บภาษีภายในเดือนเมษายน ณ ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบลสมุด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่น

กำหนด โดยให้ถือวันที่พนักงานเก็บภาษีลงลายมือชื่อในใบเสร็จรับเงินเป็นวันที่ชำระภาษี

· องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะมอบให้ส่วนราชการรับชำระภาษีแทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก็ได้ โดยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทำความตกลงเป็นหนังสือกับส่วนราชการนั้น และให้ส่วนราชการ ที่รับชำระภาษีแทน สามารถหักค่าใช้จ่ายในอัตราร้อยละ 3 ของภาษีที่รับชำระไว้แทนได้ โดยให้ถือ ว่าวันที่เจ้าหน้าที่ของส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐซึ่งได้รับมอบหมายลงลายมือชื่อใน ใบเสร็จรับเงินเป็นวันที่ชำระภาษี

· ผู้เสียภาษีอาจชำระภาษีโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ หรือโดยการชำระผ่านธนาคาร หรือโดยวิธีการอื่นใด เช่น ชำระภาษีผ่านจุดบริการ เป็นต้น

ำรทางปรียนต ดยติ ตั๋วแินปรย์ าคา ทีาคาับรสั์กรปกคถิ่น อวันทีให้บริการไปรษณีย์ประทับตราลงทะเบียนเป็นวันที่ชำระภาษี กรณีชำระโดย่านทางธนารหอวกา่น อวันทีาคาไดับเ่าหรือวันที่มีการชำระเงินค่าภาษีผ่านจัดบริการ เป็นวันที่ชระภาษี

การคิดเบี้ยปรับและเงินเพิ่ม

ถ้าผู้เสียภาษีไม่มาชำระภาษีภายมในเวลาที่กำหนด จะต้องเสียภาษีค้างชำระรวมทั้งเบี้ยปรับและวงเงินเพิ่ม ดังนี้

1. ถ้าผู้เสียภาษีมิได้มาช าระภาษีภายในเวลาที่กำหนด แต่ต่อมาได้มาชำระภาษีก่อนที่จะได้รับหนังสือส่ง

แจ้งเตือน ให้คิดเบี้ยปรับร้อยละ 10 ของจำนวนภาษีค้างชำระ

2. ถ้าผู้เสียภาษีมาชำระภาษีภายในระยะเวลาที่กำหนดในหนังสือแจ้งเตือน ให้คิดเบี้ยปรับร้อยละ 20 ของจำนวน

ภาษีค้างชำระ

3. ถ้าผู้เสียภาษีมาชำระภาษีภายหลังจากที่กำหนดในหนังสือแจ้งเตือน ให้คิดเบี้ยปรับร้อยละ 40 ของ จำนวน

ภาษีค้างชำระ

4. ผู้เสียภาษีที่มิได้ชำระภาษีภายในเวลาที่กำหนดให้เสียงเงินเพิ่มอีกร้อยละ 1 ต่อเดือนของจำนวน ภาษี้างชำระ เศษของเดืนให้นับเป็น 1 เดืน โดยให้เริ่มนับเมื่อ้นกำหนดเวชำจนึงันทีีกาชำษี แต่ม่ให้เินกว่าจำนวนาษีี่ต้งชำระ

5. กรณีที่ผู้บริหารท้องถิ่นให้ขยายกำหนดเวลาชระภาษี และได้มีการชระภาษีภายในกำหนดเวลาที่ ขยายให้นั้น ให้คิดเงินเพิ่มลดลงเหลือร้อยละ 0.5 ต่อเดือนหรือเศษของเดือน

6. เบี้ยปรับอาจงดได้ ในกรณีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างถูกยึดหรืออายัดตามกฎหมาย โดยผู้มีหน้าที่เสีย ภาษีจะต้องยื่นคร้องเป็นหนังสือต่อผู้บริหารท้องถิ่น เพื่อของดเบี้ยปรับของภาษีที่ค้างชระ และให้ผู้บริหารท้องถิ่นมีอำนาจสั่งงดเบี้ยปรับนับแต่วันที่ศาลหรือเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจตามกฎหมายมีคสั่งให้ยึด อายัดที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง แล้วแต่กรณี

ภาษีป้าย

ป้าย หมายความว่า ป้ายแสดงชื่อ ยี่ห้อ หรือเครื่องหมายที่ใช้ในการประกอบการค้าหรือประกอบกิจการอื่นเพื่อหารายได้หรือโฆษณาการค้าหรือกิจการอื่นเพื่อหารายได้ ไม่ว่าจะได้แสดงหรือโฆษณาไว้ที่วัตถุใด ๆ ด้วยอักษร ภาพ หรือเครื่องหมายที่เขียน แกะสลัก จารึกหรือทำให้ปรากฏด้วยวิธีอื่น

ผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้าย คือ เจ้าของป้าย แต่ในกรณีที่ปรากฏแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ว่าไม่มีผู้ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้าย (ภ.ป.1) สำหรับป้ายใด เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ไม่อาจหาตัวเจ้าของป้ายนั้นได้ ให้ถือว่า ผู้ครอบครองป้ายนั้นเป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้าย ถ้าไม่อาจหาตัวผู้ครอบครองป้ายนั้นได้ให้ถือว่าเจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคาร หรือสถานที่ หรือที่ดินที่ป้ายนั้นติดตั้งหรือแสดงอยู่เป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้ายตามสำดับ และให้พนักงานเจ้าหน้าที่แจ้งการประเมินภาณีเป็นหนังสือไปยังบุคคลดังกล่าว

ให้เจ้าของป้ายมีหน้าที่เสียภาษีป้ายโดยเสียเป็นรายปียกเว้นป้ายที่เริ่มติดตั้งหรือแสดงในปีแรกให้เสียภาษีป้ายตั้งแต่วันเริ่มติดตั้งหรือแสดงจนถึงวันสิ้นปี และให้คิดภาษีป้ายเป็นรายงวด งวดละ 3 เดือนของปี โดยเริ่มเสียภาษีป้ายตั้งแต่งวดที่ติดตั้งป้ายจนถึงงวดสุดท้ายของปี

งวดที่ 1 มกราคม – มีนาคม = 100%

งวดที่ 2 เมษายน – มิถุนายน = 75 %

งวดที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน = 50%

งวดที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม = 25 %

ให้เจ้าของป้ายซึ่งจะต้องเสียภาษีป้าย ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้ายตามแบบและวิธีการที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด ภายในเดือนมีนาคมของปี

บัญชีอัตราภาษีป้ายใหม่

ป้ายประเภท 1

(ก) อักษรไทยล้วน ที่เคลื่อนที่หรือเปลี่ยนข้อความ (ป้ายไฟวิ่ง) อัตรา 10 บาท/500 ตร.ซม.

(ข) อักษรไทยล้วน (ป้ายติดตั้งทั่วไป) อัตรา 5 บาท/ 500 ตร.ซม.

ป้ายประเภท 2

(ก) อักษรไทยปนกับภาษาอังกฤษ และปนรูปภาพหรือปนเครื่องหมายอื่น

ที่เคลื่อนที่หรือเปลี่ยนข้อความ เครื่องหมาย หรือภาพอื่นได้ (ป้ายไฟวิ่ง) อัตรา 52 บาท/500 ตร.ซม.

(ข) อักษรไทยปนกับภาษาอังกฤษ และปนรูปภาพหรือปนเครื่องหมายอื่น

(ป้ายติดทั่วไป) อัตรา 26 บาท/ 500 ตร.ซม.

ป้ายประเภท 3

(ก) ป้ายไม่มีอักษรไทย และป้ายที่มีอักษรไทยบางส่วนหรือทั้งหมดอยู่ใต้หรือต่ำกว่าอักษรต่างประเทศ ที่เคลื่อนที่หรือเปลี่ยนข้อความ เครื่องหมาย หรือภาพอื่นได้ (ป้ายไฟวิ่ง) อัตรา 52 บาท/500 ตร.ซม

(ข) ป้ายไม่มีอักษรไทย และป้ายที่มีอักษรไทยบางส่วนหรือทั้งหมดอยู่ใต้หรือต่ำกว่าอักษรต่างประเทศ (ป้ายติดทั่วไป) อัตรา 50 บาท/ 500 ตร.ซม.

ภาษีป้ายคิดเป็นรายปี อัตราภาษีป้ายขั้นต่ำ 200 บาท

หลักฐานที่ใช้ในการเสียภาษีป้าย

กรณีติดตั้งใหม่

- ใบอนุญาตติดตั้งป้ายใบเสร็จรับเงินค่าทำป้าย

- รูปถ่ายป้ายวัดขนาดความกว้าง x ยาว

- สำเนาทะเบียนบ้าน

- บัตรประจำตัวประชาชน/บัตรข้าราชการ/บัตรพนักงานรัฐวิสาหกิจ

- กรณีเจ้าของป้ายเป็นนิติบุคคลให้แนบหนังสือรับรองสำนักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัททะเบียนพาณิชย์ หรือหลักฐานของสรรพากร เช่น ภ.พ. 01ภ.พ. 09ภ.พ. 20

- หนังสือมอบอำนาจ (กรณีไม่สามารถยื่นแบบได้ด้วยตนเอง พร้อมติดอากรแสตมป์ตามกฎหมาย)

กรณีภาษีป้าย (รายเก่า) ที่ยื่นชำระทุกปี

- ให้เจ้าของป้ายยื่นแบบภาษีป้าย (ภ.ป. 1) พร้อมใบเสร็จรับเงินการเสียภาษีครั้งสุดท้าย

- กรณีเจ้าของป้ายเป็นนิติบุคคล ให้แนบหนังสือรับรองสำนักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัท พร้อมกับการยื่นแบบ ภ.ป. 1

- หนังสือมอบอำนาจ (กรณีไม่สามารถยื่นแบบได้ด้วยตนเองพร้อมติดอากรแสตมป์ตามกฎหมาย) และ ใบเสร็จรับเงินการเสียภาษีครั้งสุดท้าย (ถ้ามี)

ตัวอย่างการคำนวณ

นายดำ ติดตั้งป้าย ขนาด กว้าง 100 เซนติเมตร ยาว 200 เซนติเมตร

มีข้อความว่า ร้านร่ำรวย(ข) ติดตั้ง เดือน มีนาคม

วิธีการคำนวณ ขนาดป้าย กว้าง x ยาว (หน่วยเซนติเมตร)

100 x 200 = 20,000 ตารางเซนติเมตร

20,000 ÷ 500 = 40 หน่วย

อัตราภาษี 5 บาท ต่อ 500 ตารางเซนติเมตร

40 x 5 = 200 บาท

ดังนั้น นายดำ ต้องชำระภาษีป้ายในอัตราขั้นต่ำของภาษีป้าย

คือ 200 บาท

เงินเพิ่ม

- ไม่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้ายภายในกำหนด ให้เสียเงินเพิ่มร้อยละ 10 ของค่าภาษี

- ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้ายไม่ถูกต้อง ทำให้จำนวนเงินที่จะต้องเสียภาษีป้ายลดน้อยลงให้เสีย เงินเพิ่มร้อยละ 10 ของค่าภาษีป้ายที่ประเมินเพิ่มเติม



ไม่ชำระภาษีป้ายภายในเวลาที่กำหนด ให้เสียเงินเพิ่มร้อยละ 2 ต่อเดือนของค่าภาษีป้าย


บทลงโทษ

     – ผู้ใดโดยรู้อยู่แล้วหรือโดยจงใจแจ้งข้อความอันเป็นเท็จให้ถ้อยคำเท็จ ตอบคำถามด้วยถ้อยคำอันเป็นเท็จ หรือนำพยานหลักฐานเท็จมาแสดง เพื่อหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียภาษีป้าย ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1ปี หรือปรับตั้งแต่ 5,000 – 50,000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

      – ผู้ใดจงใจไม่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้าย ต้องระวางโทษปรับตั้งแต่ 5,000 – 50,000 บาท

 
 
โทรศัพท์ 08-8590-9655 , โทรสาร 0-4406-9729
การแสดงผลบนหน้าเว็บไซต์จะสมบูรณ์ที่สุดในระบบ Google Chrome, Mozilla Firefox, Microsoft Internet Explorer 8 ขึ้นไป
สงวนลิขสิทธิ์ © โดย
MediaCreativeCenter 08-7776-6615
หน้าแรก  I  สถานที่สำคัญ  I  ผลิตภัณฑ์ตำบล  I  กระดานถาม-ตอบ  I  แผนผังเว็บไซต์  I  ติดต่ออบต.